ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

Chaos theory ทฤษฎีไร้ระเบียบ

ทฤษฎีไร้ระเบียบคือการให้นิยามถึงการทุกๆการเปลี่ยนแปลงของทุกสิ่งย่อมเคลื่อนที่ไปข้างหน้าเพื่อก้าวไปสู่ยุคใหม่ทั้งแบบนุ่มนวลหรือแบบหักดิบ...ก็ตาม


    1. ระเบียบเดิมที่เคยใหม่ในครั้งอดีตที่ผ่านมาถึงกาลเวลาผ่านไปก็ต้องชำระใหม่เพราะโลกเราหมุนเร็วขึ้นทุกวันในทุกวัน

    2. มีการทำงานเเละดำเนินการไปเรื่อยๆอย่างราบเรียบจนถึงเหตุการณ์ที่ต้องเปลี่ยนไปสู่สิ่งที่ใหม่กว่า (ที่มนุษย์ทึกทักเอาว่าของใหม่จะต้องดีกว่าของเก่า ซึ่งเป็นแนวคิดที่ถูกใช้มาจนทุกวันนี้)

    3. นำมาสู่ความไร้ระเบียบเเละไปสู่ความโกลาหล ในท้ายที่สุดเพราะไม่ว่ามนุษย์จะเข้ามาจัดการกับสิ่งใดก็ตามดูเเล้วทุกสิ่งอย่างยิ่งจะมีความยุ่งเหยิงเเละตามมาด้วยความวุ่นวายไม่จบสิ้นเพราะมนุษย์ไร้ซึ่งความพอใจเเละควาามพอดีของตน นั่นก็คือ ความโลภนั่นเองที่เป็นชนวนก่อให้เกิดความวุ่นวาย
    4. ทางเลือกหรือทางที่มีให้เลือก จากการบังคับของผู้มีอำนาจ จากคำกล่าวที่ว่าประวัติศาสตร์มักจะถูกเขียน(ใหม่)โดยผู้ชนะดูจะไม่เป็นคำพูดที่เกินจริงเกินไปนัก เพราะผู้ชนะย่อมเป็นผู้สร้างกฏระเบียบต่างๆไว้เพื่อบังคับผู้ใต้อำนาจนั่นเอง (ในกรณีี้นี้ถ้าผู้นำดีมีจริยธรรม คุณธรรม กฏระเบียบที่นำมาใช้ก็ไม่น่าจะสร้างหรือก่อความวุ่นวายให้กับสังคมได้นัก)
    5. การจัดตั้งระเบียบใหม่ ก็คือการเปลี่ยนถ่ายจากสิ่งเก่าสู่สิ่งใหม่ อาจจะเป็นการเปลี่ยนแปลง ปรับตัว (Adaptation) คือต้องมีช่วงเปลี่ยนผ่านไปก่อนนั้นคือ ช่วงของ Chaos หรือภาวะไร้ระเรียบเกิดขึ้นก่อนเสมออาจมีการต่อสู้กันระหว่างระบบเก่ากับ ระบบใหม่ช่วงชิงความชนะกันจนในที่สุดสิ่งที่ล้าหลังกว่าไม่มีประสิทธิภาพก็ต้องล้มหายตายจากไปเปิดทางให้สิ่งใหม่ที่ดีกว่าก็เข้ามาแทนที่แบบหักดิบหรือการเปลี่ยนแปลงแบบเปลี่ยนถ่ายอย่างนุ่มนวลหรือใช้ระยะเวลาที่นานกว่าแต่ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงนั้นย่อมส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแน่นอนเพราะว่าการเปลี่ยนแปลงนั้นไม่ว่าจะมากหรือน้อยก็ตามทีย่อมต้องการเข้ามาปรับเปลี่ยนความเป็นอยู่ในรูปแบบเก่ามาก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอยู่เเล้วนั่นคือเป้าหมายของระเบียบของการเปลี่ยนแปลงเพราะเมื่อมีการนำกระทำใช้ก็ต้องมีฝ่ายถูกกระทำหรือถูกใช้บังคับ นั่นเอง
    6. ระเบียบใหม่ (ซึ่งจะกลายเป็นระเบียบเก่าในเวลาต่อมา) เป็นการนำมาใช้อย่างเต็มรูปแบบเเละเริ่มมีผลต่อสังคมหรือสิ่งแวดล้อมในขั้นนี้จะเริ่มมี Effect จากสิ่งแวดล้อมเป็นตัววัดค่า หรือเป็นตัวชี้วัดถึงสิ่งที่นำมาใช้ว่า "ก่อให้เกิดสิ่งที่ดีขึ้นหรือแย่ลงกว่าเก่า" เเละสมควรต้องมีการปรับปรุงหรือไม่/อย่างไร/เพราะอะไรซึ่งต้องเป็นเหตุเป็นผลที่มีความสอดคล้องกันอย่างมีนัยทางเหตุผล
    7. ระเบียบเริ่มสั่นคลอน นำมาสู่ความไร้ระเบียบอย่างแท้จริง (เข้าสู่วงจรเดิมจากขั้นตอนที่ 1-3 ต่อๆไปเป็นวัฏจักรของทุกสรรพสิ่งในสากลโลก)  เป็นขั้นตอนที่อาจจะกล่าวได้ว่าเป็นขั้นตอนสุดท้ายเเละอาจจะเป็นขั้นตอนเริ่มต้นสู่การเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง เพราะในขั้นตอนนี้เป็นการชี้ขาดจากการเปลี่ยนแปลงในขั้นที่ผ่านมาว่าุถึงเวลาเเล้วหรือยังที่เราจะต้องทำการปรับปรุงสิ่งที่มีปัญหาไปสุ่การจัดตั้งระเีบียบตัวใหม่เพื่อปัญหาที่ต้องการการแก้ไข ในขั้นนี้ถ้าเป็นกรณีทางสังคมจะต้องมีการนำข้อเสนอเเนะจากสังคมมาแก้ไข สู่สิ่งที่ดีกว่าเข้าไปในสังคมเเทน โดยมีตัวชี้วัดคือ "ค่าของความสุขของประชาชนในสังคม"เป็นตัวชี้วัด อาจจะกล่าวได้ว่าขั้นตอนนี้สมควรจะใช้ "ทฤษฎีนโยบายสาธารณะ" ที่จะมีการสะท้อน Feed back เสียงของประชาชนเป็นตัวขับเคลื่อนไปสู่การเปลี่ยนแปลง เพราะเมื่อผู้คนสังคมต้องการถึงการเปลี่ยนแปลงบางสิ่งบางอย่างจึงจะต้องมีผู้รวบรวมปัญหาเหล่านั้นมาแก้ไข เพื่อประโยชน์สุขของสังคมให้บังเกิดขึ้น นั่นเอง



.......................................
ติดต่อสอบถามได้ที่

Line ID
"Pickpatiparn"  Tel 093-2629000
Email
"Pmresearch2011@gmail.com"
........................................

รับสมัครนักวิจัยอิสระเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ...ทุกจังหวัดทั่วประเทศ

ติดต่อได้ที่ 082 - 5765579 ปฏิภาณ หรือ ID Line... pickpatiparn หรือทาง Blogger 
.........................................

5 อันดับบทความยอดนิยม

Qualitative Research (การวิจัยเชิงคุณภาพ)

การวิจัยเชิงคุณภาพ หรือ Qualitative Research      เป็นการวิจัยที่ "ต้องการค้นหาความจริงจากเหตุการณ์ สภาพแวดล้อมตามความเป็นจริง" ซึ่งมีหัวใจหลักคือการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์กับสภาพแวดล้อมเพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ (Insight) จากภาพรวมที่มาจากหลากหลายมิติหรือมุมมอง       จึงทำให้การวิจัยเชิงคุณภาพเป็นการวิจัยเชิงธรรมชาติ (Naturalistic Research) ที่มีวัตถุประสงค์ ที่หมายความถึงการที่ปล่อยให้ทุกๆอย่างคงอยู่ตามสภาพตามธรรมชาติโดยปราศจากการกระทำใดๆที่จะส่งกระทบต่อผลลัพธ์ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเเละคลาดเคลื่อนได้ (Manipulate)       ทั้งนี้เนื่องจาก "การอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆทางสังคม (Contextual) ที่ปรากฏการณ์ขึ้นในบางประการนั้นไม่สามารถที่จะทำการอธิบายด้วยเหตุผลแบบธรรมดาได้" นั่นจึงทำให้ การทำวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) นั้นผู้วิจัยต้องพยายามทำความเข้าใจใน ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมต่างๆรอบตัวเเละนำมาอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมที่ต้องการ      ทำให้ ลักษณะข้อมูลที่นำมาใช้ในการการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) นั้นต้องมีลัก

Quantitative Research (การวิจัยเชิงปริมาณ)

การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็นวิธีค้นหาความรู้และความจริงเชิงข้อมูล/ตัวเลข มีลักษณะของการวิจัยที่ควบคุมตัวแปรที่ศึกษาเเละใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์และประมวลผลเพื่อทำข้อสรุปให้เกิดความคลาดเคลื่อน (Error) น้อยที่สุด (ศาสตราจารย์เกียรติคุณบุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ : 2549) วัตถุประสงค์   การวิจัยเชิงปริมาณ ( Quantitative research) มีวัตถุประสงค์ที่จะพยายามให้คำอธิบายปรากฏการณ์ทางวิทยาศาสตร์ โดยพยายามใช้แนวที่เรียกว่า ปฎิฐานนิยม (Positivism) การอธิบายปรากฎการณ์จึงเป็นการนำเสนอเชิงตัวเลข ทางสถิติ เช่น ร้อยละของประชากรที่อาศัยอยู่ในเมือง ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจ เป็นต้น ลักษณะของข้อมูล               การวิจัยเชิงปริมาณ ( Quantitative research) เป็นการศึกษาสภาพทั่วไปของสังคมโดยกำหนดตัวแปรต่างๆเพื่อเก็บข้อมูลสถิติตัวเลข อาจเป็นข้อมูลปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ การเสนอภาพรวมจะมี ข้อมูลเชิงปริมาณประกอบด้วย วิธีการเก็บข้อมูล การวิจัยเชิงปริมาณ ( Quantitative research) จะเก็บข้อมูลด้วยวิธีการสำรวจ เน้นการเก็บข้อมูลจากคนจำนวนมาก เพื่อทำการวิเคราะห์และทดสอบทฤษฎีห

Participatory Action Research: PAR (การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม)

“ Participatory Action Research: PAR  เป็นการลงพื้นที่วิจัยโดย กลุ่มบุคคลร่วมกันเรียนรู้เพื่อรู้จักตัวเอง ชุมชนเเละสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เห็นปัญหาเเละทางแก้ โดยการลงมือปฏิบัติด้วย ตัวเองจนเกิดองค์ความรู้ ส่วนคำว่า เชิงปฏิบัติการ หมายถึง การปฏิบัติงานในกิจกรรมการพัฒนาที่ควบคู่ไปกับการวิจัย และ คำว่า การมีส่วนร่วม หมายถึง การเข้าร่วมอย่างแข็งขันของกลุ่มบุคคลในขั้นตอนต่างๆ ของการดำเนินกิจกรรมอย่างหนึ่ง.... Kerlinger ( 1988)   สรุปได้ว่า การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ก็คือ การแสวงหาความรู้ ความจริงที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีกลุ่มบุคคลเข้ามาร่วมกันเรียนรู้เพื่อรู้จักตัวเอง ชุมชน สิ่งแวดล้อมให้เห็นปัญหาของตัวเองและเห็นทางแก้หรือทางออกจากปัญหาโดยลงมือปฏิบัติจริงได้ผลจริงแก้ปัญหาได้จริง ซึ่ง “การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ( PAR) คือ การวิจัย ค้นว้า และหาความรู้ตามหลักการของการวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์แบบเดิมๆ ต่างกันเพียงแต่ว่า PAR นั้นมีวัตถุประสงค์มุ่งไปที่การแก้ปัญหาในการพัฒนา และเป็นการวิจัยที่ดำเนินไปด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน ผู้ร่

Research and Development หรือ การวิจัยและพัฒนา

เป็นการวิจัยที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาวิชาชีพของมนุษย์ปัจจุบันองค์กรจำนวนมากส่งเสริมให้บุคลากรในสังกัดมีความรู้ความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนาโดยเชื่อว่าช่วยให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ ความหมาย และลักษณะของการวิจัยและพัฒนา การวิจัยและพัฒนา (The Research and Development) เป็นลักษณะหนึ่งของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research)ที่ใช้กระบวนการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มุ่งพัฒนาทางเลือกหรือวิธีการใหม่ๆ เพื่อใช้ในการยกระดับคุณภาพงานหรือคุณภาพชีวิต การวิจัยและพัฒนาเป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยมีการพัฒนาต้นแบบนวัตกรรม (หมายถึงสื่อ/สิ่งประดิษฐ์ หรือวิธีการ) แล้วมีการทดลองใช้ เพื่อตรวจสอบคุณภาพในเชิงประจักษ์ ทั้งนี้ นวัตกรรมที่นำมาทดลอง คือ ปฏิบัติการ (Treatment) หรือตัวแปรต้น โดยมี “ดัชนีชี้คุณภาพ” ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งเป็นตัวแปรตาม การวิจัยและพัฒนาจะให้ผลลัพธ์ที่สำคัญ 2 ลักษณะ 1) นวัตกรรมประเภทวัตถุที่เป็นชิ้นอัน ซึ่งอาจเป็นประเภท วัสดุ/อุปกรณ์/ชิ้นงาน เช่น รถยนต์ คอมพิวเตอร์ ชุดการสอน สื่อการสอน ชุดกิจกรรม เสริมความรู้ คู่มือประกอบการทำงาน เป็นต้น 2) นวัตกรรมประเภทที่เป็นร

Survey Research หรือ การวิจัยเชิงสำรวจ

เป็นเทคนิคการวิจัยซึ่งรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างของประชากรเป็นวิธีการที่ใช้มากที่สุดในการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิโดยใช้แบบสอบถาม ผู้วิจัยจะต้องตัดสินใจแสดงถึงเทคนิคการออกแบบพื้นฐาน 4 ประการ ที่ใช้ใน การวิจัยเชิงพรรณนาและการวิจัยเชิงเหตุผล ดังวิธีการ ดังนี้ 1. การสำรวจ ( Survey) 2. การทดลอง ( Experiments) 3. การศึกษาข้อมูลทุติยภูมิ ( Secondary data study) หรือข้อมูลประวัติศาสตร์ ( Historical data) 4. การสังเกต ( Observation techniques) การเขียนแบบสอบถามการกำหนดรายการของคำถามการออกแบบคำถามที่มีการจัดพิมพ์หรือเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นลักษณะของการพัฒนาการออกแบบงานวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจอาจใช้โทรศัพท์ จดหมาย หรือใช้บุคคลสัมภาษณ์ก็ได้ การทดลอง ( Experiments) การทดลองจะใช้มากในการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล( Cause-and-effect relationships)   การทดลองเป็นการสำรวจการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรหนึ่ง หรือหลายตัวแปรเพื่อวัดผลกระทบต่อตัวแปรตาม เช่น การวิเคราะห์ถึงสาเหตุของการออกจากงาน การขาดงานหรือการมาสาย การศึกษาข้อมูลทุติยภูมิ ( Secondary data study) หรือ ข้อมูลประวัติศาสต