ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤษภาคม, 2013

Empirical Phenomenology An Approach for Qualitative Research (ปรากฎการณ์วิทยาเชิงประจักษ์)

การศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิธีปรากฎการณ์วิทยาเชิงประจักษ์  (Empirical Phenomenology An Approach for Qualitative Research)  Moustakus & Clark.(1990) กล่าวไว้ว่า ปรากฏการณ์วิทยาเชิงประจักษ์ คือ การศึกษาแนวคิดและกระบวนการในด้านความรู้ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์  การสะท้อนความรู้สึก  ความคิด  และประสบการณ์ชีวิตที่ผ่านมา เป็นการค้นหาพฤติกรรมของบุคคลที่แสดงออกมาโดยตรง แมกซ์ แวน เมเนน (2000) ซึ่งเขาได้เสนอวิธีการและขั้นตอนการศึกษาแบบปรากฏการณ์วิทยาว่า มีอยู่ 2 วิธีการหลัก  ได้แก่            1)  วิธีการเชิงสะท้อนกลับ (Reflective methods)                        2)  วิธีการเชิงประจักษ์ (Empirical methods)             โดยที่ในแต่ละวิธีก็มีการได้มาซึ่งข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่แตกต่างกันไป ซึ่งแบบแรกเป็นวิธีการเชิงสะท้อนกลับ ซึ่งมีวิธีการหาข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างได้แก่ Hermeneutic Interview Reflection, Exegetical Reflection, Linguistic Reflection, Thematic Reflection,  Guided Existential Reflection,   และCollaborative Reflection,  ซึ่งใน   แต่ละวิธีก็มีวิธีเฉพา