การวิจัยเชิงคุณภาพ หรือ Qualitative Research เป็นการวิจัยที่ "ต้องการค้นหาความจริงจากเหตุการณ์ สภาพแวดล้อมตามความเป็นจริง" ซึ่งมีหัวใจหลักคือการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์กับสภาพแวดล้อมเพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ (Insight) จากภาพรวมที่มาจากหลากหลายมิติหรือมุมมอง จึงทำให้การวิจัยเชิงคุณภาพเป็นการวิจัยเชิงธรรมชาติ (Naturalistic Research) ที่มีวัตถุประสงค์ ที่หมายความถึงการที่ปล่อยให้ทุกๆอย่างคงอยู่ตามสภาพตามธรรมชาติโดยปราศจากการกระทำใดๆที่จะส่งกระทบต่อผลลัพธ์ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเเละคลาดเคลื่อนได้ (Manipulate) ทั้งนี้เนื่องจาก "การอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆทางสังคม (Contextual) ที่ปรากฏการณ์ขึ้นในบางประการนั้นไม่สามารถที่จะทำการอธิบายด้วยเหตุผลแบบธรรมดาได้" นั่นจึงทำให้ การทำวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) นั้นผู้วิจัยต้องพยายามทำความเข้าใจใน ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมต่างๆรอบตัวเเละนำมาอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมที่ต้องการ ทำให้ ลักษณะข้อมูลที่นำมาใช้ในการการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) นั้นต้องมีลัก
การวิจัย/สังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม หรือ Non Par (ticipative) " การวิจัยแบบไม่มีส่วนร่วม หรือ การสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม เป็น กระบวน การที่ใช้เทคนิคในการสังเกตการณ์จากภายนอก" หรือ ......ที่ภาษาทางการวิจัยหมายถึงการที่ตัวผู้วิจัยนั้นไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมกับแหล่งข้อมูลนั้นๆอาทิเช่น กิจกรรมทางสังคม ประเพณี การประชุม ฯลฯ ทั้งนี้..... อาจเป็นความต้องการทำให้ข้อมูลนั้นปราศจาก..... 1) การปรุงแต่งจากปัจจัยภายนอก 2) เพื่อไม่ให้กลุ่มข้อมูลนั้นรู้ตัว 3) ให้ได้ข้อมูลในลักษณะที่มีความเป็นธรรมชาติมากที่สุด 4) ไร้การเจือปนของการรู้สึก 5) ไร้การปรุงแต่งข้อมูล จึงทำให้ตัวผู้วิจัยนั้นต้องปฏิบัติดั่งเช่นบุคคลภายนอกให้มากที่สุด เเละนั่นทำให้.. ." การวิจัยแบบไม่มีส่วนร่วมหรือสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม ( Non Participative Observation) มีเทคนิคในการเก็บข้อมูลที่ตรงกันข้ามกับเทคนิค การสังเกตการณ์หรือการวิจัยแบบมีส่วนร่วม (PAR)" เเละความตรงกันข้ามของ Non-Par เเละ Par ที่แตกต่างจึงได้มาซึ่งการสรุป ดังนี้ ข้อมูล ที่แตกต่างไปด้วยความจริงแท้ของข้อมูล ความจริงของปราก